ตัวอย่าง
stop motion
วันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
การสร้างภาพ Stop Motion
สตอปโมชัน (Stop motion) เป็นแอนิเมชันที่อะนิเมะเตอร์ต้องสร้างส่วน ประกอบต่างๆ ของภาพขึ้นด้วยวิธีอื่น นอกเหนือจากการวาดบนแผ่นกระดาษ หรือแผ่นเซล และยังต้องยอมเมื่อยมือ ขยับรูปร่างท่าทางของส่วนประกอบเหล่านั้นทีละนิดๆ แล้วใช้กล้องถ่ายไว้ทีละเฟรมๆ
(Wikipedia)
1.เปิดโปรแกรม
Ulead
Video Studio แล้วเลือก
Video
Studio Editor
3.เมื่อแตกไฟล์เสร็จแล้วให้เข้าไปที่หน้าโปรแกรม
เลือกเปิดไฟล์ภาพ
จากนั้นให้กด
Ctrl +
A เพื่อเลืกรูปทั้งหมดเพื่อให้เข้าไปใน
Project
เสร็จแล้วเราสามารถเลือกรูปมาวางบน
Timeline
(ทำทีละรูป)
เมื่อรูปที่เราเลือกไปอยู่บน
Timeline
แล้วให้กำหนดเวลาของFrame รูปตั้งให้เวลาน้อยกว่า 1 วินาที
การสร้างสื่อมัลติมีเดีย
ขั้นตอนในการสร้างสื่อมัลติมีเดีย
ในการสร้างสื่อมัลติมีเดีย จะเริ่มต้นด้วย
-
การกำหนดหัวเรื่อง
-
เป้าหมาย
-
วัตถุประสงค์
-
กลุ่มเป้าหมายผู้ใช้
-
การวิเคราะห์ (Analysis)
-
การออกแบบ (Design)
-
การพัฒนา (Development)
-
การสร้าง (Implementation)
-
การประเมินผล (Evaluation)
-
นำออกเผยแพร่ (Publication)
ซึ่งการสร้างสื่อมัลติมีเดีย
ที่กล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่า การจัดทำสื่อมัลติมีเดีย นี้เป็นเรื่องที่ง่ายมากๆ
ซึ่งหมายความว่าใครๆ ที่มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์ก็สามารถจะสร้างสื่อมัลติมีเดียได้
ในที่นี้จะกำหนดขั้นตอนการสร้างสื่อมัลติมีเดียโดยละเอียด ทั้งหมด 7 ขั้นตอน
เพื่อสะดวกกับผู้เริ่มต้นที่สนใจในการสร้างสื่อมัลติมีเดีย (สุกรี รอดโพธ์ทอง 2538
: 25-33) ดังนี้
1. ขั้นการเตรียม (Preparation)
- กำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ (Determine Goals and Objectives) ต้องทราบว่าศึกษาในเรื่องใดและลักษณะใด เราจะต้องทราบพื้นฐานของผู้เรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายเสียก่อน เพราะความรู้พื้นฐานของผู้เรียนมีอิทธิพลต่อเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการเรียน
- รวบรวมข้อมูล (Collect Resources) หมายถึง การเตรียมพร้อมทางด้านของเอกสารสนเทศ (Information) ทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง
- เนื้อหา (Meterials) ได้แก่ ตำรา หนังสือ เอกสารทางวิชาการ หนังสืออ้างอิง สไลด์ภาพต่างๆ แบบสร้างสถานการณ์จำลอง
- การพัฒนาและออกแบบบทเรียน (Instructional Development) คือ หนังสือการออกแบบบทเรียน กระดาษวาดสตอรี่บอร์ดสื่อสำหรับการทำกราฟิก โปรแกรมประมวลผลคำ เป็นต้น
- สื่อในการนำเสนอบทเรียน (Instructional Development System) ได้แก่ การนำเอาคอมพิวเตอร์สื่อต่างๆ มาใช้งาน
- เรียนรู้เนื้อหา (Learn Content) เช่น การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ การอ่านหนังสือหรือ
เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียน ถ้าไม่มีการเรียนรู้เนื้อหาเสียก่อนก็ไม่สามารถออกแบบบทเรียนที่มีประสิทธิภาพได้
- สร้างความคิด (Generate Ideas) คือ การระดมสมองนั่นเอง การระดมสมองหมายถึง
การกระตุ้นให้เกิดการใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อให้ได้ข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นจำนวนมาก
2. ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction) ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน
เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดขั้นหนึ่งในการกำหนดว่าบทเรียนจะออกมามีลักษณะใด
- ทอนความคิด (Elimination of Ideas)
- วิเคราะห์งานและแนวความคิด (Task and Concept Analysis)
- ออกแบบบทเรียนขั้นแรก (Preliminary Lesson Description)
- ประเมินและแก้ไขการออกแบบ (Evaluation and Revision of the Design)
3. ขั้นตอนการเขียนผังงาน (Flowchart Lesson) เป็นการนำเสนอลำดับขั้นโครงสร้างของ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผังงานทำหน้าที่เสนอข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรม เช่น อะไรจะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนตอบคำถามผิด หรือเมื่อไหร่จะมีการจบบทเรียน และการเขียนผังงานขึ้นอยู่กับประเภทของบทเรียนด้วย
4. ขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ด (Create Storyboard) เป็นขั้นตอนการเตรียมการนำเสนอข้อความ ภาพ รวมทั้งสื่อในรูปแบบมัลติมีเดียต่างๆ ลงบนกระดาษเพื่อให้การนำเสนอข้อความและรูปแบบต่างๆ เหล่านี้เป็นไปอย่างเหมาะสมบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ต่อไป
5. ขั้นตอนการสร้างและการเขียนโปรแกรม (Program Lesson) เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงสตอรี่บอร์ดให้กลายเป็น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ส่วนนี้จะต้องคำนึงถึงฮาร์ดแวร์ ลักษณะและประเภทของบทเรียนที่ต้องการสร้าง โปรแกรมเมอร์และงบประมาณ
6. ขั้นตอนการประกอบเอกสารประกอบบทเรียน (Produce Supporting Materials) เอกสารประกอบบทเรียนอาจแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ คู่มือการใช้ของผู้เรียน คู่มือการใช้ของผู้สอน คู่มือสำหรับแก้ปัญหาเทคนิคต่างๆ และเอกสารประกอบเพิ่มเติมทั่วๆ ไป ผู้เรียนและผู้สอนย่อมมีความต้องการแตกต่างกัน คู่มือจึงไม่เหมือนกัน คู่มือการแก้ปัญหาก็จำเป็นหากการติดตั้งมีความสลับซับซ้อนมาก
7. ขั้นตอนการประเมินผลและแก้ไขบทเรียน (Evaluate and Revise) บทเรียนและเอกสารประกอบทั้งหมดควรที่จะได้รับการประเมิน โดยเฉพาะการประเมินการทำงานของบทเรียน ในส่วนของการนำเสนอนั้นควรจะทำการประเมินก็คือ ผู้ที่มีประสบการณ์ในการออกแบบมาก่อนในการประเมินการทำงานของบทเรียนนั้น ผู้ออกแบบควรที่จะสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนหลังจากที่ได้ทำการเรียนจากคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นๆ แล้ว โดยผู้ที่เรียนจะต้องมาจากผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนนี้อาจจะครอบคลุมถึงการทดสอบนำร่องการประเมินผลจากผู้เชี่ยวชาญได้ ในการประเมินการทำงานของบทเรียนนั้นผู้ออกแบบควรที่จะสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนหลังจากที่ได้ทำการเรียน จากคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นๆ แล้ว โดยผู้ที่เรียนจะต้องมาจากผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนนี้อาจจะครอบคลุมถึงการทดสอบนำร่องการประเมินผลจากผู้เชี่ยวชาญได้
- กำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ (Determine Goals and Objectives) ต้องทราบว่าศึกษาในเรื่องใดและลักษณะใด เราจะต้องทราบพื้นฐานของผู้เรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายเสียก่อน เพราะความรู้พื้นฐานของผู้เรียนมีอิทธิพลต่อเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการเรียน
- รวบรวมข้อมูล (Collect Resources) หมายถึง การเตรียมพร้อมทางด้านของเอกสารสนเทศ (Information) ทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง
- เนื้อหา (Meterials) ได้แก่ ตำรา หนังสือ เอกสารทางวิชาการ หนังสืออ้างอิง สไลด์ภาพต่างๆ แบบสร้างสถานการณ์จำลอง
- การพัฒนาและออกแบบบทเรียน (Instructional Development) คือ หนังสือการออกแบบบทเรียน กระดาษวาดสตอรี่บอร์ดสื่อสำหรับการทำกราฟิก โปรแกรมประมวลผลคำ เป็นต้น
- สื่อในการนำเสนอบทเรียน (Instructional Development System) ได้แก่ การนำเอาคอมพิวเตอร์สื่อต่างๆ มาใช้งาน
- เรียนรู้เนื้อหา (Learn Content) เช่น การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ การอ่านหนังสือหรือ
เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียน ถ้าไม่มีการเรียนรู้เนื้อหาเสียก่อนก็ไม่สามารถออกแบบบทเรียนที่มีประสิทธิภาพได้
- สร้างความคิด (Generate Ideas) คือ การระดมสมองนั่นเอง การระดมสมองหมายถึง
การกระตุ้นให้เกิดการใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อให้ได้ข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นจำนวนมาก
2. ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction) ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน
เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดขั้นหนึ่งในการกำหนดว่าบทเรียนจะออกมามีลักษณะใด
- ทอนความคิด (Elimination of Ideas)
- วิเคราะห์งานและแนวความคิด (Task and Concept Analysis)
- ออกแบบบทเรียนขั้นแรก (Preliminary Lesson Description)
- ประเมินและแก้ไขการออกแบบ (Evaluation and Revision of the Design)
3. ขั้นตอนการเขียนผังงาน (Flowchart Lesson) เป็นการนำเสนอลำดับขั้นโครงสร้างของ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผังงานทำหน้าที่เสนอข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรม เช่น อะไรจะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนตอบคำถามผิด หรือเมื่อไหร่จะมีการจบบทเรียน และการเขียนผังงานขึ้นอยู่กับประเภทของบทเรียนด้วย
4. ขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ด (Create Storyboard) เป็นขั้นตอนการเตรียมการนำเสนอข้อความ ภาพ รวมทั้งสื่อในรูปแบบมัลติมีเดียต่างๆ ลงบนกระดาษเพื่อให้การนำเสนอข้อความและรูปแบบต่างๆ เหล่านี้เป็นไปอย่างเหมาะสมบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ต่อไป
5. ขั้นตอนการสร้างและการเขียนโปรแกรม (Program Lesson) เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงสตอรี่บอร์ดให้กลายเป็น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ส่วนนี้จะต้องคำนึงถึงฮาร์ดแวร์ ลักษณะและประเภทของบทเรียนที่ต้องการสร้าง โปรแกรมเมอร์และงบประมาณ
6. ขั้นตอนการประกอบเอกสารประกอบบทเรียน (Produce Supporting Materials) เอกสารประกอบบทเรียนอาจแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ คู่มือการใช้ของผู้เรียน คู่มือการใช้ของผู้สอน คู่มือสำหรับแก้ปัญหาเทคนิคต่างๆ และเอกสารประกอบเพิ่มเติมทั่วๆ ไป ผู้เรียนและผู้สอนย่อมมีความต้องการแตกต่างกัน คู่มือจึงไม่เหมือนกัน คู่มือการแก้ปัญหาก็จำเป็นหากการติดตั้งมีความสลับซับซ้อนมาก
7. ขั้นตอนการประเมินผลและแก้ไขบทเรียน (Evaluate and Revise) บทเรียนและเอกสารประกอบทั้งหมดควรที่จะได้รับการประเมิน โดยเฉพาะการประเมินการทำงานของบทเรียน ในส่วนของการนำเสนอนั้นควรจะทำการประเมินก็คือ ผู้ที่มีประสบการณ์ในการออกแบบมาก่อนในการประเมินการทำงานของบทเรียนนั้น ผู้ออกแบบควรที่จะสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนหลังจากที่ได้ทำการเรียนจากคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นๆ แล้ว โดยผู้ที่เรียนจะต้องมาจากผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนนี้อาจจะครอบคลุมถึงการทดสอบนำร่องการประเมินผลจากผู้เชี่ยวชาญได้ ในการประเมินการทำงานของบทเรียนนั้นผู้ออกแบบควรที่จะสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนหลังจากที่ได้ทำการเรียน จากคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นๆ แล้ว โดยผู้ที่เรียนจะต้องมาจากผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนนี้อาจจะครอบคลุมถึงการทดสอบนำร่องการประเมินผลจากผู้เชี่ยวชาญได้
การคุมกำเนิด
15 วิธีคุมกำเนิด
1. ถุงยางอนามัย เป็นวิธีคุมกำเนิดที่เก่าแก่ที่สุด และยังเป็นการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้อีกด้วย
2. ยาคุมกำเนิด มีฮอร์โมนเอสโตรเจนและเจสตาเจน (Gestagen) ฮอร์โมนทั้งสองตัวนี้จะป้องกันไม่ให้ไข่ตก
และเปลี่ยนแปลงเยื่อบุโพรงมดลูกให้ไม่เหมาะแก่การฝังตัว ทั้งนี้ต้องกินยาคุมกำเนิดติดต่อกันทุกวันเป็นเวลา
3 สัปดาห์และหยุดพักหนึ่งสัปดาห์ที่จะมีประจำเดือนในช่วงนั้นวิธีนี้เป็นวิธีที่ปลอดภัยมาก
และยังช่วยลดอาการปวดท้องประจำเดือนได้ด้วยแต่อาจทำให้ผู้หญิงที่สูบบุหรี่เกิดโรคโลหิตหรือน้ำเหลืองคั่งได้ทำให้อารมณ์เพศลดลง
และอาจทำให้ผู้หญิงเกิดโรคลิ่มเลือดแข็งตัวในหลอดเลือด
3. ยาคุมกำเนิด Desogestrel และ Levonorgestrel มีเพียงฮอร์โมนเจสตาเจนเท่านั้น
ที่จะป้องกันไม่ให้ไข่ตกและป้องกันไม่ให้สเปิร์มผ่านเข้าไปในมดลูกซึ่งเป็นวิธีที่ปลอดภัยมากและยังช่วยลดอาการปวดท้องประจำเดือนด้วยแต่ต้องกินยานี้ทุกวัน ข้อเสียคือ ทำให้มีเลือดออกกะปริดกะปรอยในระยะแรกของการใช้
ส่วนมากจะใช้ในกรณีตลอดบุตรใหม่ ๆและต้องการให้นมบุตร
4. ยาคุมกำเนิดหลังมีเพศสัมพันธ์ เป็นยาที่มีความแรงของตัวยาและต้องให้แพทย์สั่งในกรณีฉุกเฉิน
เช่นมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ตั้งใจไม่ได้ป้องกันหรือมีความเสี่ยงกับการตั้งครรภ์ที่มีไม่พึงปรารถนา
ยานี้ต้องกินภายใน 72ชม. หลังการมีเพศสัมพันธ์ยิ่งกินยาได้เร็วเท่าไหร่ ก็จะปลอดภัยมาก
5. คุมกำเนิดแบบฉีด 3 เดือน เป็นยาฉีดที่มีฮอร์โมนเจสตาเจนโดยการฉีดเข้ากล้ามเนื้อที่สะโพก
หรือต้นแขนมีผลควบคุมไม่ให้ตั้งครรภ์ได้ 3เดือน มีความปลอดภัยในการคุมกำเนิดสูง
และช่วยลดอาการปวดท้องระหว่างมีรอบเดือน แต่เป็นยาที่มีฮอร์โมนสูง
6. ฝังไว้ที่ผิวหนัง มีลักษณะเป็นแท่งพลาสติก มีขนาดเท่าไม้ขีด
มีฮอร์โมนเจสตาเจนโดยใช้การใส่เข้าไปที่ต้นแขนใต้ผิวหนังของผู้หญิงป้องกันไข่ตกและป้องกันไม่ให้สเปิร์มเข้าไปในรังไข่
หลังจาก 3 ปีก็ให้แพทย์เอาออก
เป็นวิธีที่ปลอดภัยแต่วิธีนี้อาจทำให้มีแผลเป็นเล็ก
ๆและมีเลือดออกกะปริดกะปรอยในระยะแรกเมื่อใช้ไประยะหนึ่งก็จะหาย
7. การใส่ห่วง เป็นห่วงที่ทำจากพลาสติกขนาดเล็กและมีขดลวดทองแดงเล็กๆ
(Copper-T)พันรอบห่วง
ใช้สำหรับคุมกำเนิดอย่างเดียวโดยผู้หญิงจะใส่ห่วงในช่วงมีรอบเดือน เพราะใส่ง่าย
มีอายุคุมกำเนิดได้ถึง 5ปี
เป็นห่วงที่มีฮอร์โมนเอสโตรเจนและเจสตาเจนน้อย สามารถคุมกำเนิดได้ 5 ปี
8. การวัดฮอร์โมนตกไข่ เป็นวิธีทดสอบปัสสาวะของผู้หญิง
โดยการใช้แท่งตรวจจุ่มลงไปในปัสสาวะเพื่อตรวจสอบฮอร์โมนในปัสสาวะและคำนวณวันที่ไข่จะตก
9. การวัดอุณหภูมิ เพื่อความมั่นใจในการคุมกำเนิด
จำเป็นต้องหมั่นวัดอุณหภูมิร่างกายทุกวันในช่วงเวลาเดียวกันและในตำแหน่งเดิม
เพื่อจะได้รู้วันไข่ตกที่แน่นอน
10. นับวันจากปฏิทิน เป็นวิธีที่ผู้หญิงต้องมีปฏิทินประจำตัว
เป็นวิธีที่ง่ายและสะดวกเหมาะกับผู้หญิงที่มีประจำเดือนสม่ำเสมอ (28 วัน)แต่ช่วงไข่ตกก็ต้องใช้วิธีอื่นคุมกำเนิด
11. สังเกตมูกจากปากมดลูก เป็นวิธีคุมกำเนิดอย่างธรรมชาติและเป็นวิธีที่ประหยัดโดยผู้หญิงต้องสังเกตมูกตกขาวจากปากมดลูก
(Cervical Mucus)ทุกวันและจดโน้ตไว้เพื่อดูวันที่ไข่ตก
12. วิธีคุมกำเนิดแบบ Sympto Thermal เป็นวิธีคุมกำเนิดอย่างธรรมชาติ
โดยการผสมผสานระหว่างอุณหภูมิและการสังเกตมูกตกขาววิธีนี้ค่อนข้างปลอดภัยถ้าผู้หญิงหมั่นสังเกตตัวเอง
13. Coitus
lnterruptus เป็นวิธีที่ฝ่ายชายหลั่งอสุจิข้างนอกหลังการมีเพศสัมพันธ์ แต่สเปิร์มอาจเล็ดลอดออกไปได้ก่อนหน้านั้น
จึงไม่แนะนำ
14. การทำหมันชาย วิธีนี้ใช้การผ่าตัดเพียงนิดเดียวในผู้ชายเพื่อตัดท่ออสุจิ
เหมาะกับผู้ชายที่ไม่ต้องการมีลูกอีก ป้องกันการตั้งครรภ์ได้สูง
15. การทำหมันหญิง คือกรรมวิธีการตัดบางส่วนหรือแยกท่อนำไข่ออกจากกันทั้ง
2 ข้างทำให้ไม่เกิดการปฏิสนธิ
การแก้ไขเพื่อให้ท่อนำไข่สู่ภาวะปกติก็ทำได้แต่ค่อนข้างยุ่งยากเพราะต้องอาศัยการผ่าตัดผ่านกล้องจุลทรรศน์
อันตรายจากการทำแท้ง
อันตรายจากการทำแท้ง
อันตรายที่เกิดกับผู้ทำแท้ง แบ่งได้ เป็น ๓ ระยะ คือ
1. ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดทันที เป็นอันตรายที่เกิดขึ้นขณะทำแท้ง หรือเกิดภายใน ๓ ชั่วโมงหลังทำแท้งมีการตกเลือด มดลูกทะลุ ปากมดลูกฉีกขาด อันตรายจากยาชา และยาสลบ ภาวะเลือดไม่แข็งตัว ทำให้ตกเลือดมาก ภาวะโซเดียมคั่งในเลือด ภาวะเป็นพิษจากสารน้ำ และหลอดเลือดอุดตันจากฟองอากาศ อุดตันจากลิ่มเลือด หรืออุดตันจากน้ำคร่ำ ภาวะแทรกซ้อนที่กล่าวถึงทั้งหมดนี้ อาจจะมีความรุนแรง จนทำให้ผู้ป่วยถึงแก่กรรมได้
2. ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดล่า เป็นอันตรายที่เกิดขึ้นหลังการทำแท้ง ๓
ชั่วโมงไปจนถึง ๒๘ วัน ได้แก่ ภาวะแท้งไม่ครบหรือแท้งค้าง
และการอักเสบติดเชื้อทั้งสองภาวะนี้เป็นอาการสำคัญที่นำผู้ทำแท้งผิดกฎหมายเข้ารักษาต่อใน โรงพยาบาล การอักเสบติดเชื้อนั้นพบเกือบทุกราย
รายที่อักเสบรุนแรงอาจจะถูกตัดมดลูกทิ้ง แม้ผู้ป่วยจะยังอายุเพียง ๑๕ - ๑๖ ปีก็ตาม
รายที่รุนแรงกว่านั้นอาจจะถึงแก่กรรมก่อนตัดมดลูก หรือแม้แต่ตัดมดลูกออกแล้ว ก็ช่วยชีวิตไม่ได้
3. ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดในระยะหลัง เป็นอันตรายที่เกิดหลังการทำแท้ง ๒๘ วันไปแล้ว ได้แก่ การอักเสบเรื้อรังในอุ้งเชิงกราน ปวดประจำเดือน ปวดขณะร่วมเพศ หรือบางรายปวดมากจนไม่สามารถจะร่วมเพศได้ บางรายเป็นหมันเพราะโพรงมดลูกติดกันจนตัน หรือเป็นหมัน เพราะท่อนำไข่อุดตันจากการอักเสบ และผลของการอักเสบของท่อนำไข่อาจทำให้มีการตั้งครรภ์นอกมดลูกได้ นอกจากนี้ยังพบอุบัติการของการแท้งซ้ำในครรภ์หลังๆ ค่อนข้างบ่อย
อันตรายที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของการขูดมดลูก : ผนังหลังของปากมดลูกทะลุ จากเครื่องมือขยายปากมดลูก มักพบในรายมดลูกคว่ำหน้า
อันตรายที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของการขูดมดลูก : ผนังมดลูกขาด หรือปลิ้นออกมา เพราะใช้เครื่องมือคีบชิ้นส่วนของเด็กหรือรกพลาด
3. ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดในระยะหลัง เป็นอันตรายที่เกิดหลังการทำแท้ง ๒๘ วันไปแล้ว ได้แก่ การอักเสบเรื้อรังในอุ้งเชิงกราน ปวดประจำเดือน ปวดขณะร่วมเพศ หรือบางรายปวดมากจนไม่สามารถจะร่วมเพศได้ บางรายเป็นหมันเพราะโพรงมดลูกติดกันจนตัน หรือเป็นหมัน เพราะท่อนำไข่อุดตันจากการอักเสบ และผลของการอักเสบของท่อนำไข่อาจทำให้มีการตั้งครรภ์นอกมดลูกได้ นอกจากนี้ยังพบอุบัติการของการแท้งซ้ำในครรภ์หลังๆ ค่อนข้างบ่อย
อันตรายที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของการขูดมดลูก : ผนังหลังของปากมดลูกทะลุ จากเครื่องมือขยายปากมดลูก มักพบในรายมดลูกคว่ำหน้า
อันตรายที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของการขูดมดลูก : ผนังมดลูกขาด หรือปลิ้นออกมา เพราะใช้เครื่องมือคีบชิ้นส่วนของเด็กหรือรกพลาด
แนวทางการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
1. สอนความรู้เรื่องเพศ
เพศสัมพันธ์ และการคุมกำเนิด
2. สอนวัยรุ่นชายให้มีความรับผิดชอบและให้เกียรติผู้หญิง เนื่องจากในสังคมไทยยังคงยกย่องเพศชายว่าเป็นเพศที่แข็งแรงกว่าจึงควรสอนให้ผู้ชายมีความคิดที่จะปกป้อง
ช่วยเหลือเพศหญิงมากกว่า นอกจากนี้เพศชายจะต้องให้เกียรติผู้หญิง
และมีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเอง ปัญหาการทำแท้งส่วนใหญ่พบว่าฝ่ายชายไม่ยอมรับการตั้งครรภ์
3.แนวทางการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์นี้คงต้องเริ่มจากการปลูกฝังนิสัยตั้งแต่วัยเด็กให้สอดคล้องกับสภาพสังคมในยุคโลกาภิวัฒน์นี้
เชื่อว่าปัญหาการทำแท้งผิดกฎหมายอาจเบาบางลงไป
4.สอนให้รู้จักการปฏิเสธในสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ปฏิเสธที่จะไปเที่ยวต่อหลังเลิกเรียน
ปฏิเสธที่จะไปไหนๆกับเพื่อนชายตามลำพัง ไม่เปิดโอกาสให้เพศตรงข้ามถูกเนื้อต้องตัว
เป็นต้น ปลูกฝังค่านิยมในการรักนวลสงวนตัวตั้งแต่วัยเด็ก และเน้นย้ำมากขึ้นในวัยรุ่น ได้แก่
การแต่งกายที่สุภาพ ไม่แต่งกายล่อแหลม ยั่วยุอารมณ์เพศตรงข้ามซึ่งเป็นเหตุให้เกิดการข่มขืนกระทำชำเราแก่เด็กนักเรียน
นักศึกษา
ที่กำลังก้าวเข้าสู่วัยรุ่นพร้อมทั้งชี้ให้เห็นข้อดีและข้อเสียของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
และการตั้งครรภ์เมื่อไม่พร้อม โดยเน้นย้ำให้เห็นผลเสีย ได้แก่
การสูญเสียโอกาสในการศึกษา และการประกอบอาชีพการงานที่ดี
ตลอดจนโอกาสในการเจอคู่ครองที่ดีในอนาคต
ผลกระทบจากการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
1.การทำแท้ง เมื่อไม่ต้องการให้บุตรที่อยู่ในครรภ์มีชีวิตอยู่ต่อไปจึงต้องมีการทำลาย
ด้วยการฆ่าให้ตายด้วยการทำแท้งซึ่งอาจเป็นแพทย์หรือหมอเถื่อน
ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นบาปมากเพราะเป็นการฆ่ามนุษย์การแท้งอาจ
เป็นอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต
2.การนำเด็กไปทิ้ง ถ้าไม่ทำแท้งเสียก่อนเมื่อคลอดลูกออกมาก็อาจนำไปทิ้ง ที่เป็น
เช่นนี้เพราะเขาไม่พร้อมที่จะรับผิดชอบและฝ่ายชายก็ไม่รับผิดชอบจึงต้องทำเช่นนี้
3.เด็กกำพร้า การมีบุตรตั้งแต่วัยรุ่น ผู้ชายส่วนใหญ่มักไม่รับผิดชอบอาจหลบหนี
หรือพ่อแม่อาจจ่ายเงินเป็นค่าทำขวัญแล้วเรื่องก็จบ แต่ผู้หญิงที่เป็นฝ่ายอุ้มท้องหนี
ไม่ได้จึงต้องสู้ทนเลี้ยงบุตรที่เกิดมา เมื่อมี่พ่ออยู่ด้วยกันก็ถือว่าเป็นลูกกำพร้า
ซึ่งทำให้เด็กคนนั้นมีปมด้อย
4.การเลี้ยงดู เมื่อวัยรุ่นมีลูกในวัยนี้ ซึ่งมีความรับผิดชอบต่ำ รายได้ก็ไม่มี หรือถ้ามีก็
มีไม่มาก ดังนั้นการเลี้ยงดูจึงเป็นไปตามมีตามเกิด ไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร เมื่อเด็กโตขึ้น
อาจได้รับการศึกษาน้อยเพราะเกิดมาท่ามกลางความไม่พร้อม
5.การสร้างภาระเลี้ยงดูให้แก่พ่อและแม่ มีบางรายที่คลอดบุตรแล้วกลับมาเรียนอีกหรือ
ไม่เรียนก็เลี้ยงลูกไม่ค่อยเป็นจึงเป็นภาระของพ่อแม่จะต้องเลี้ยงดู นับว่าสร้างปัญหา
ให้แก่ครอบครัวมิใช่น้อย
6.การสูญเสียความก้าวหน้าในชีวิต โดยเฉพาะฝ่ายหญิงเพราะส่วนใหญ่ถ้ามีบุตรแล้ว
มักไม่ได้เรียนต่อ ต้องยุติหรือชะลอการศึกษาในระบบลงก่อน อนาคตที่จะการงานที่ดีๆ
ทำก็หายไปสำหรับฝ่ายชายก็อาจถูกลงโทษตามกฎหมาย และหากฝ่ายหญิงเกิดตั้งครรภ์
และมีบุตรก็จะเป็นภาระที่ต้องรับผิดชอบทั้งที่ยังไม่มีความพร้อม
7.การฆ่าตัวตาย เป็นการตัดสินใจหนีปัญหาทั้งปวงด้วยการฆ่าตัวตาย เพราะคิดว่า
เมื่อละโลกนี้ไปแล้วปัญหาต่างๆ ก็จบสิ้นหรือตนเองก็ไม่ต้องรับรู้ปัญหาใดๆ นับว่า
เป็นเรื่องเศร้าที่นำความเสียใจมาสู่ครอบครัว แบะไม่ใช่วิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
ที่มา: http://61.19.202.164/works/smtpweb52/D03/Problem.html
ด้วยการฆ่าให้ตายด้วยการทำแท้งซึ่งอาจเป็นแพทย์หรือหมอเถื่อน
ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นบาปมากเพราะเป็นการฆ่ามนุษย์การแท้งอาจ
เป็นอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต
2.การนำเด็กไปทิ้ง ถ้าไม่ทำแท้งเสียก่อนเมื่อคลอดลูกออกมาก็อาจนำไปทิ้ง ที่เป็น
เช่นนี้เพราะเขาไม่พร้อมที่จะรับผิดชอบและฝ่ายชายก็ไม่รับผิดชอบจึงต้องทำเช่นนี้
3.เด็กกำพร้า การมีบุตรตั้งแต่วัยรุ่น ผู้ชายส่วนใหญ่มักไม่รับผิดชอบอาจหลบหนี
หรือพ่อแม่อาจจ่ายเงินเป็นค่าทำขวัญแล้วเรื่องก็จบ แต่ผู้หญิงที่เป็นฝ่ายอุ้มท้องหนี
ไม่ได้จึงต้องสู้ทนเลี้ยงบุตรที่เกิดมา เมื่อมี่พ่ออยู่ด้วยกันก็ถือว่าเป็นลูกกำพร้า
ซึ่งทำให้เด็กคนนั้นมีปมด้อย
4.การเลี้ยงดู เมื่อวัยรุ่นมีลูกในวัยนี้ ซึ่งมีความรับผิดชอบต่ำ รายได้ก็ไม่มี หรือถ้ามีก็
มีไม่มาก ดังนั้นการเลี้ยงดูจึงเป็นไปตามมีตามเกิด ไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร เมื่อเด็กโตขึ้น
อาจได้รับการศึกษาน้อยเพราะเกิดมาท่ามกลางความไม่พร้อม
5.การสร้างภาระเลี้ยงดูให้แก่พ่อและแม่ มีบางรายที่คลอดบุตรแล้วกลับมาเรียนอีกหรือ
ไม่เรียนก็เลี้ยงลูกไม่ค่อยเป็นจึงเป็นภาระของพ่อแม่จะต้องเลี้ยงดู นับว่าสร้างปัญหา
ให้แก่ครอบครัวมิใช่น้อย
6.การสูญเสียความก้าวหน้าในชีวิต โดยเฉพาะฝ่ายหญิงเพราะส่วนใหญ่ถ้ามีบุตรแล้ว
มักไม่ได้เรียนต่อ ต้องยุติหรือชะลอการศึกษาในระบบลงก่อน อนาคตที่จะการงานที่ดีๆ
ทำก็หายไปสำหรับฝ่ายชายก็อาจถูกลงโทษตามกฎหมาย และหากฝ่ายหญิงเกิดตั้งครรภ์
และมีบุตรก็จะเป็นภาระที่ต้องรับผิดชอบทั้งที่ยังไม่มีความพร้อม
7.การฆ่าตัวตาย เป็นการตัดสินใจหนีปัญหาทั้งปวงด้วยการฆ่าตัวตาย เพราะคิดว่า
เมื่อละโลกนี้ไปแล้วปัญหาต่างๆ ก็จบสิ้นหรือตนเองก็ไม่ต้องรับรู้ปัญหาใดๆ นับว่า
เป็นเรื่องเศร้าที่นำความเสียใจมาสู่ครอบครัว แบะไม่ใช่วิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
ที่มา: http://61.19.202.164/works/smtpweb52/D03/Problem.html
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)